คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
FACULTY OF ENGINEERING AND AGRO-INDUSTRY, MAEJO UNIVERSITY
The Faculty of Engineering and Agro-Industry at Maejo University successfully hosted the 11th Southeast Asian Agricultural and Food Engineering Student Chapter Annual Regional Convention 2025 (ARC2025) in collaboration with The Malaysian Society of Agricultural and Food Engineers (MSAE) from February 23-27, 2025. Themed "Intelligent Agriculture and Novelty in Agrofood Industry for Wellness," the event aimed to enhance students’ academic skills through international competitions, providing valuable experiences that equip them with the knowledge and abilities to compete at a global level.
Participants
Total participants: 142
Participating countries: 3 (Thailand, Malaysia, Indonesia)
Participating universities:Maejo University
Universiti Putra Malaysia, Serdang Campus
Universiti Putra Malaysia, Bintulu Campus
Universiti Teknologi MARA, Jasin Campus
Universiti Malaysia Perlis
Universiti Sultan Zainal Abidin
POLITEKNIK KOTA BHARU
Universitas Gadjah Mada
Andalas University
Brawijaya University
Suranaree University of Technology
King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang, Prince of Chumphon Campus
Awards Won by Maejo University Students ?Maejo University students excelled at the event, winning 26 awards in total, categorized as follows:
ARC Maze Race (Team Competition)
?? Gold Medal: Apirak Panyaboon, Punyanuch Chaorenu, Napharat Khamluagtoem
?? Silver Medal: Kamolchat Suthisumran, Chanyauch Wandee, Kantthida Khongchroeyniwat, Suchanat Khunkaew
?? Bronze Medal: Oorpha Lungpan, Paemruethai Saorayawiset, Nawarat Ca-To
Interactive Poster Presentations
?? Gold Medal (1 award):
“Effect of Illumination and MJ-Hydroponics Nutrient Solution on Isolated Strain Plant of Wolffia Globosa Cultivation”
Prangwalee Injam, Sirinthon Sittikai, Somkiat Jaturonglumlert
?? Silver Medals (3 awards):
“Design and Proof of Concept for Fruit Juice Squeezing Auxiliary Device”
Kamonwan Bangpong, Thanchanok Suriyawong, Phubet Yimtim, Jaturapatr Varith
“Sustainable Plant-Based Meat Jerky Product”
Tukdanai Nualnak, Thayida Phuouet, Nathamon Khwanthai, Kornpaka Arkanit, Theeraphol Senphan
“Utilization of Ethanol Vapors Inhibits In Vitro Development of Key Pathogen Causing Anthracnose and Stem-End-Rot in 'Nam Dok Mai' Mango”
Kanokon Puraso, Phuripat Khamdet, Aunyamanee Tasai, Preuk Choosung
?? Bronze Medals (18 awards):
“Development of Image Processing System to Identify Dehiscence Zone Coordinates for Durian Dehusking Robotics Arm”
“Optimizing of Temperature and Time for Dried Cocoa Nibs”
“Development of a Real-Time Notification System Using Line Notify”
“Automated Corn Shelling Machine Development”
“Kinetics of Lychee Wine Fermentation and Production Scale-up”
“Bamboo Mushroom Infused Fragrant Tea Olive Beverage”
“Comparison of Seed Drying Methods of Rice and Maize Seeds”
“Anti-Corrosion Coating of Steel with Natural Rubber Latex”
“Comparison of the Quality and Quantity of Biochar Produced from a Conventional Kiln and a Modified Kiln”
“Banana Sheet Pressing Machine Design”
“Design and Development of Equipment for Water Level Control in Frozen Tuna Thawing to Reduce Wet Surface Area”
“Design of a Biomass Conveyor Belt Dryer Using a Hot Air System”
“Plasma Bubble-Activated Water”
“Study of Factors Affecting the Culture of Wolffia in Prototype Farms to Create Future Food”
“Analysis of Kinetics Model from Hot Air Drying of Bananas”
“MN Save Track”
“Effect of Water Contamination in Refrigeration Systems”
“Effects of Hot Water Treatments and Calcium Chloride on the Quality of Fresh-cut Guava (Cv. Kimju)”
Special Awards
?? Best Presentation Award: “Plasma Bubble-Activated Water”
Phonphong Niphoncharoenchot, Apatcha Jittriwas, Nichada Thamnao, Kanjana Narkprasom
?? Best Innovation Award: “Effect of Illumination and MJ-Hydroponics Nutrient Solution on Isolated Strain Plant of Wolffia Globosa Cultivation”
Prangwalee Injam, Sirinthon Sittikai, Somkiat Jaturonglumlert
A Proud Achievement on the International Stage
This outstanding performance highlights the capabilities of Maejo University students in the field of agricultural and food engineering. Their success reflects the university’s commitment to fostering innovation, technical expertise, and global competitiveness. Congratulations to all the winners!
ปรับปรุงข้อมูล : 26/3/2568 15:31:51     ที่มา : คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้     จำนวนผู้เปิดอ่าน : 33

กลุ่มข่าวสาร : ข่าวกิจกรรม ข่าวประชาสัมพันธ์ ข่าวด้านการศึกษา

ข่าวล่าสุด

คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ต้อนรับบริษัทเนเจอรี่ จำกัด จังหวัดลำปาง
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ต้อนรับบริษัทเนเจอรี่ จำกัด จังหวัดลำปางวันนี้ 31 มีนาคม 2568 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา นาคประสม คณบดีคณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร พร้อมด้วยผู้บริหาร ให้การต้อนรับคุณสมฤดี อินทรฉิม จากบริษัทเนเจอรี่ จำกัด จังหวัดลำปาง ซึ่งได้เข้ามาแนะนำบริษัท ทำความรู้จัก และสร้างความสัมพันธ์เพื่อความร่วมมือในอนาคตการพบปะครั้งนี้เป็นก้าวแรกของการเชื่อมโยงระหว่างภาคการศึกษาและภาคอุตสาหกรรม เพื่อเปิดโอกาสสู่ความร่วมมือในด้านการศึกษา สหกิจศึกษา ฝึกงาน และโอกาสทางอาชีพ คณะฯ ขอขอบคุณบริษัทเนเจอรี่ จำกัด ที่ให้ความสำคัญกับการสร้างเครือข่าย และหวังว่าจะได้ร่วมงานกันในอนาคต
11 เมษายน 2568     |      121
โครงการการพัฒนาการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร และสมุนไพร
เมื่อวันที่ 1-2 เมษายน 2568 งานบริการวิชาการและวิจัย ได้จัดโครงการการพัฒนาการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร และสมุนไพร ณ อาคารโรงงานนำร่อง คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร โดย อาจารย์ ดร.แพรวพรรณ จอมงาม ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายเทคโนโลยี นวัตกรรมและจัดหารายได้ เป็นหัวหน้าโครงการโครงการนี้จัดขึ้นเพื่อนำองค์ความรู้ที่ได้จากงานวิจัยทางด้านการทำแห้งเพื่อคงปริมาณสารสำคัญ ได้แก่ ข้าวเกรียบสมุนไพร ไส้อั่วปลาอบแห้งโรยข้าว และการพัฒนาผลิตภัณฑ์แยมผลไม้ โดยมีวิทยากร ผศ.ดร.กาญจนา นาคประสม ผศ.ดร.ศรัญญา สุวรรณอังกูร อาจารย์ ดร.ตรีทิพย์ ชื่นสันต์ เป็นผู้นำองค์ความรู้มาถ่ายทอดเทคโนโลยี สู่กลุ่มเกษตรกร กลุ่มแม่บ้านเกษตร กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ในตำบลสันป่าเปา ซึ่งเป็นพื้นที่เป้าหมายของมหาวิทยาลัย ให้ชุมชนเกิดการพัฒนาตนเองด้านการแปรรูปอาหาร สร้างความยั่งยืนในอนาคต
11 เมษายน 2568     |      101
นำเสนอผลงานในโครงการออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น ประจำปี 2568
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ร่วมเป็น 1 ใน 5 ทีม นำเสนอผลงานในโครงการออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น ประจำปี 2568เมื่อวันศุกร์ที่ 4 เมษายน 2568 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา นาคประสม คณบดีคณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร ได้นำทีมนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ “ออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น” ประจำปี 2568 ณ ห้องประชุม 105 อาคารประเสริฐ ณ นคร คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้โดยได้รับเกียรติจาก รองศาสตราจารย์ ดร.นิโรจน์ สินณรงค์ ผู้ช่วยอธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นประธานในพิธีและกล่าวเปิดโครงการ ซึ่งเป็นเวทีให้นักศึกษาได้มีโอกาสนำความรู้มาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นและยกระดับศักยภาพของชุมชนในครั้งนี้ คณะวิศวกรรมฯ ได้ร่วมมือกับ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ส่งทีมนักศึกษาเข้าร่วมการแข่งขันภายใต้ชื่อทีม "ชาลำ บำรุงสุข" ซึ่งเป็นหนึ่งใน 5 ทีมที่ได้นำเสนอผลงาน ในรอบนี้ ทีมชาลำ บำรุงสุข ได้ร่วมพัฒนาวิสาหกิจชุมชนกลุ่มแปรรูปลำไยอบแห้งเนื้อสีทอง บ้านสันป่าเหียน จังหวัดลำพูน โดยมุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้สามารถแข่งขันในตลาดได้มากขึ้นการเข้าร่วมโครงการในครั้งนี้เป็นโอกาสสำคัญที่ช่วยเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ การพัฒนาแนวคิดเชิงธุรกิจ และการทำงานร่วมกับชุมชน ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้เติบโตอย่างยั่งยืน
11 เมษายน 2568     |      86
ลงนามความร่วมมือทางวิชาการกับคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ลงนามความร่วมมือทางวิชาการกับคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2568 นำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา นาคประสม คณบดีคณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เข้าร่วมพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) กับคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ยุทธนา พิมลศิริผล คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมลงนามในฐานะผู้แทนฝ่ายเจ้าภาพ ณ อาคารคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่พิธีลงนามในครั้งนี้จัดขึ้นเพื่อวางรากฐานความร่วมมือในด้านการเรียนการสอนและการใช้ทรัพยากรร่วมกันในช่วงสถานการณ์วิกฤต อาทิ ภัยธรรมชาติ เหตุเพลิงไหม้ หรือเหตุการณ์ไม่สงบที่อาจส่งผลกระทบต่อการดำเนินกิจกรรมทางการศึกษา โดยทั้งสองหน่วยงานตกลงร่วมมือกันในการสนับสนุนการใช้ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารสถานที่ รวมถึงอุปกรณ์ เครื่องมือ และวัสดุต่าง ๆ ตามความเหมาะสม โดยยังคงอยู่ภายใต้การดูแลและความรับผิดชอบของแต่ละสถาบัน ทั้งในด้านค่าสาธารณูปโภคและค่าใช้จ่ายจากการใช้ทรัพยากรเฉพาะกรณีความร่วมมือครั้งนี้ยังครอบคลุมถึงการผลักดันกิจกรรมวิจัย การบริการวิชาการ และการสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านเทคโนโลยีอาหารและผลิตผลเกษตร โดยมุ่งหวังให้เกิดการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และการพัฒนาโครงการที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมจริงภายหลังพิธีลงนาม คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้พาคณะผู้บริหารและบุคลากรจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้เยี่ยมชมศูนย์นวัตกรรมอาหารและบรรจุภัณฑ์ (FIN) รวมถึงอาคารเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงงานต้นแบบ และอาคาร CMU BIOPOLIS ซึ่งถือเป็นแหล่งบ่มเพาะองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สำคัญของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ความร่วมมือระหว่างทั้งสองสถาบันในครั้งนี้นับเป็นอีกหนึ่งก้าวสำคัญในการพัฒนาศักยภาพทางวิชาการและวิจัยของประเทศ พร้อมร่วมกันผลักดันความเจริญก้าวหน้าในภาคอุตสาหกรรมเกษตรอย่างมั่นคงและยั่งยืนCr :ขอบคุณรูปภาพจากคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  
11 เมษายน 2568     |      107