ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร พ.ศ. 2560: 

1) อธิบายและประยุกต์ใช้ความรู้ด้านการแปรรูปอาหารได้อย่างเหมาะสม มีคุณธรรมและจริยธรรม 

2) อธิบายและประยุกต์ใช้ความรู้ด้านการวิเคราะห์คุณภาพ การควบคุมคุณภาพ ระบบประกันคุณภาพ และความปลอดภัยอาหาร ได้อย่างเหมาะสม มีคุณธรรมและจริยธรรม

3) อธิบายและประยุกต์ใช้ความรู้ด้านการจัดการ การตลาด และการเป็นผู้ประกอบการได้อย่างเหมาะสม มีคุณธรรมและจริยธรรม

4) อธิบายและประยุกต์ใช้ความรู้ด้านอาหารเพื่อสุขภาพ อาหารอินทรีย์ และการผลิตอาหารเพื่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม มีคุณธรรมและจริยธรรม

5) มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถพัฒนากระบวนการแก้ปัญหาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารได้อย่างเหมาะสม มีคุณธรรมและจริยธรรม

6) มีทักษะด้านภาษาอังกฤษ คอมพิวเตอร์ และการใช้สารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเอง 

7) มีมนุษยสัมพันธ์ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น มีภาวะผู้นำและผู้ตามที่เหมาะสม มีทัศนคติที่ดี มีความรับผิดชอบและพร้อมที่จะเรียนรู้และทดลองทำสิ่งใหม่ๆ

 

ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร พ.ศ. 2565: 

1) ประยุกต์ใช้หลักการทางเคมีอาหารในการควบคุมปฏิกิริยาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในอาหาร

2) อภิปรายบทบาทและความสำคัญของการปรับตัวและปัจจัยแวดล้อมต่อการเจริญเติบโตและการยับยั้งจุลินทรีย์ในสภาวะต่างๆ

3) ออกแบบแผนควบคุมความปลอดภัยอาหารสำหรับผู้ผลิตอาหารแต่ละประเภท

4) ออกแบบวิธีการแปรรูปที่ทำให้อาหารปลอดภัยและมีคุณภาพสูง

5) เลือกวิธีการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสเพื่อแก้ปัญหาในงานด้านอาหาร

6) ประยุกต์หลักการของการประกันและควบคุมคุณภาพ

7) ตรวจสอบประเด็นที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายและข้อบังคับของอาหาร

8) เลือกใช้เทคนิคในการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลที่เหมาะสม

9) เลือกเทคนิคการวิเคราะห์ที่เหมาะสมในการแก้ปัญหาในทางปฏิบัติ

10) นำเสนอข้อมูลทางวิทยาศาสตร์การอาหารสำหรับผู้ฟังที่หลากหลาย

11) อภิปรายประเด็นตัวอย่างทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์การอาหารภายใต้ความหลากหลายและความเท่าเทียมทางสังคมและวัฒนธรรม


  หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565

 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้

วิทยาเขต/คณะ คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร วิทยาเขตเชียงใหม่

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

1. รหัสหลักสูตรและชื่อหลักสูตร รหัสหลักสูตร : 25450131101027

ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science Program in Food Science and Technology

กลุ่มหลักสูตร : วิชาการ

2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร)

ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : วท.บ. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร)

ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Science (Food Science and Technology)

ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.S. (Food Science and Technology)

3. วิชาเอก

ไม่มี

4. จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร คือ 135 หน่วยกิต (สำหรับนักศึกษาที่เข้าเรียนปี พ.ศ. 2560-2564) หรือ 120 หน่วยกิต (สำหรับนักศึกษาที่เข้าเรียนปี พ.ศ. 2565-2569)

5. รูปแบบของหลักสูตร

5.1 รูปแบบ หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี ทางวิชาการ

5.2 ภาษาที่ใช้ หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)

5.3 การรับเข้าศึกษา รับนักศึกษาทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่มีพื้นความรู้ภาษาไทย

5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น เป็นหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัยที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง

5.5 การให้ปริญญากับผู้สำเร็จการศึกษา ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร

6.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565) ปรับปรุงจากหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)

6.2 กำหนดการเปิดสอน ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2565

6.3 คณะกรรมการด้านวิชาการ เห็นชอบหลักสูตรและให้นําเสนอคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย ในการประชุม ครั้งที่ 1/2565 เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2565

6.4 คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย เห็นชอบและให้เสนอหลักสูตรต่อ คณะกรรมการสภาวิชาการ ในการประชุม ครั้งที่ 3/2565 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2565

6.5 คณะกรรมการสภาวิชาการ เห็นชอบและให้เสนอหลักสูตรต่อ สภามหาวิทยาลัย ในการประชุมครั้งที่ 4/2565 เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2565

6.6 สภามหาวิทยาลัย ให้ความเห็นชอบและอนุมัติหลักสูตร ในการประชุม ครั้งที่ 3/2565 เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2565

7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน

หลักสูตรมีความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ในปีการศึกษา 2567

8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

ผู้สำเร็จการศึกษาสามารถเป็นผู้ประกอบการด้านอาหาร หรือทำงานในองค์กรภาครัฐ หรือภาคเอกชนในตำแหน่งต่างๆ ดังนี้

8.1 นักวิทยาศาสตร์การอาหาร

8.2 นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร

8.3 ผู้ควบคุมคุณภาพอาหาร

8.4 ผู้ประเมินเพื่อรับรองระบบคุณภาพโรงงานอาหาร

8.5 นักโภชนาการ-นักส่งเสริมสุขภาพ

8.6 นักวิชาการ-ครู-อาจารย์

8.7 นักพัฒนาชุมชน-นักส่งเสริมการแปรรูปผลิตภัณฑ์ชุมชน

8.8 พนักงานบริการและให้คำปรึกษาด้านการผลิตอาหาร

8.9 พนักงานจัดซื้อในโรงงานอาหาร

9. ชื่อ นามสกุล ตำแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร มีอาจารย์ประจำหลักสูตรทั้งหมดจำนวน 8 คน ดังนี้

 

ชื่อ-นามสกุล

ตำแหน่งทางวิชาการ

คุณวุฒิการศึกษา

วิชาที่สอน

1. นายชนันท์ภัสร์ ราษฎร์นิยม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ปริญญาเอก : Ph.D. Packaging Technology

ปริญญาโท : วท.ม. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

ปริญญาตรี : วท.บ. เคมีอุตสาหกรรม

1) 10402360 การออกแบบนวัตกรรมอาหาร

2) 10402462 เทคโนโลยีการบรรจุอาหาร

3) 10402496 โครงงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

4) 10400497 สหกิจศึกษา

ผลงานวิชาการ (อย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง)

1. กชพร พรมมารัตน์, จุฑามาศ กัดผุ, ธเนศ แก้วกำเนิด, ชนันท์ภัสร์ ราษฎร์นิยม และ วิจิตรา แดงปรก. (2562). คุณภาพทางกายภาพและทางประสาทสัมผัสของคุกกี้ปราศจากกลูเตนจากแป้งข้าวอินทรีย์ผสมและกากมะพร้าว. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ พะเยาวิจัย ครั้งที่ 8 (หน้า 1316-1322). มหาวิทยาลัยพะเยา จ.พะเยา. 24-25 มกราคม 2562.

2. ชนันท์ภัสร์ ราษฎร์นิยม, จารุมาตย์ ห้วยไชย, เจนจิรา สายจีน และ วิจิตรา แดงปรก. (2564). ฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์แอลฟาอะมัยเลสและฤทธิ์ต้านออกซิเดชันของบะหมี่ข้าวกล้องเสริมเห็ดหอม. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 6 ด้านสารสนเทศ การเกษตร การจัดการ บริหารธุรกิจ วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี: IAMBEST 2021 (หน้า 555-562). ออนไลน์: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ จ.ชุมพร. 27-28 พฤษภาคม 2564.

3. Rardniyom, C., Keokamnerd, T., Phanchaisri, C., Intharapongnuwat, W., & Daengprok, W. (2020). Quality changes of fish fingers from African catfish (Clarias gariepinus) during frozen storage (-20°C). In The 12th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB XII) (pp.154-160). Online: Silpakorn University, Nakhon Prathom, Thailand. 24 July 2020.

4. Daengprok, W., Rardniyom, C., Keokamnerd, T., & Intharapongnuwat, W. (2021). Effects of mince washing and packaging on physicochemical quality changes of fish burger made from African catfish (Clarias gariepinus) during frozen storage. Food and Applied Bioscience Journal, 9(3), 27-43.

5. Rardniyom, C., Meta-anankul, N., Keokamnerd, T., & Daengprok, W. (2021). Alpha-amylase inhibition and antioxidant activity of Shiitake (Lentinus edodes) mushroom. In The 13th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB 2021) (pp.15-22). Online: Thailand. 18 September 2021.

2. นางสาวกรผกา อรรคนิตย์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ปริญญาเอก : ปร.ด. วิทยาศาสตร์การอาหาร

ปริญญาโท : วท.ม. วิทยาศาสตร์การอาหาร

ปริญญาตรี : วท.บ. เทคโนโลยีอาหาร

1) 10402300 การแปรรูปอาหาร 2

2) 10402301 การแปรรูปอาหาร 3

3) 10402320 เคมีอาหาร

4) 10402331 ระบบประกันคุณภาพอาหาร

5) 10402332 ความปลอดภัยของอาหาร

6) 10402420 วัตถุเจือปนอาหาร

7) 10402440 เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์นม

8) 10402443 เทคโนโลยีอาหารแช่เยือกแข็ง

9) 10402491 หัวข้อเฉพาะทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

10) 10402496 โครงงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

11) 10400497 สหกิจศึกษา

ผลงานวิชาการ (อย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง)

1. กิตติพงษ์ จิระพงษ์สุวรรณ, เจนจิรา นิเวศน์, ดารชาต์ เทียมเมือง, กรผกา อรรคนิตย์ และ กานต์ ทิพยาไกรศรี. (2563). การเปรียบเทียบวิธีเตรียมอกปูนาทอดต่อฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระและการเกิดออกซิเดชันของไขมัน. ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 58 (หน้า 329-337). ออนไลน์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ. 5-7 กุมภาพันธ์ 2563.

2. ธัญลักษณ์ สายสืบ, พัชรมณี อุณหพิพัฒพงศ์ และ กรผกา อรรคนิตย์. (2564). ผลของสารเพิ่มความคงตัวต่อคุณสมบัติทางกายภาพและประสาทสัมผัสของไอศกรีมกะทิ. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติประจำปี 2564 นวัตกรรมเกษตร อาหาร และสุขภาพ (หน้า 1226-1234). ออนไลน์: มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่. 24-25 ธันวาคม 2564.

3. Thongngamkham, K., Meemak, R., Unhapipatpong, P., and Arkanit, K. (2021). Effects of partial replacement of wheat flour with pumpkin flour and hydrocolloids on cooking yield, textural and sensory properties of pasta. In Food Innovation Asia Conference 2021 (pp.143-152). Online: BITEC, Bangkok, Thailand. 17-18 June 2021.

4. Niwet, J. and Arkanit, K. (2023). Application of basil seed powder and gelatin as an alternative to phosphate in chicken meatball. In The 25th Food Innovation Asia Conference 2023: The Future Food for Sustainability, Health and Well-being. BITEC, Bangkok, Thailand. 15-17 June 2023.

5. Saekhow, K., Thongchachot, R., and Arkanit, K. (2023). Production of spreadable unsalted butter using different types of oils. In The 25th Food Innovation Asia Conference 2023: The Future Food for Sustainability, Health and Well-being. BITEC, Bangkok, Thailand. 15-17 June 2023.

 

3. นางสาวกนกวรรณ ตาลดี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ปริญญาเอก : Ph.D. Food Science

ปริญญาโท : -

ปริญญาตรี : วท.บ. ชีววิทยา

1) 10402210 จุลชีววิทยาทางอาหาร

2) 10402410 จุลชีววิทยาทางอุตสาหกรรม

3) 10402448 การผลิตไวน์และเบียร์

4) 10402491 หัวข้อเฉพาะทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

5) 10402496 โครงงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

6) 10400497 สหกิจศึกษา

ผลงานวิชาการ (อย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง)

1. นฤมล บุญมี, นักรบ นาคประสม, ชนวัฒน์ นิทัศน์วิจิตร, พัฒนา เฟื่องฟู, จริยาพร สังข์ภิรมย์, กาญจนา นาคประสม และ กนกวรรณ ตาลดี. (2562). การหาสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตกรดอะซิติกในระหว่างกระบวนการหมักน้ำส้มสายชูจากเนื้อผลกาแฟ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 27(6), 1038-1053.

2. รัชฎาภรณ์ ลิ้นฤาษี, วิจิตรา แดงปรก, วิวัฒน์ หวังเจริญ, กนกวรรณ ตาลดี, จิตราพร งามพีระพงศ์, ศรัญญา สุวรรณอังกูร, วชิระ ชุ่มมงคล และ ธีระพล เสนพันธุ์. (2565). การปรับปรุงคุณภาพสีในผลิตภัณฑ์น้ำพริกหนุ่ม. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 27(2), 885-899.

3. รัชฎาภรณ์ ลิ้นฤาษี, วิจิตรา แดงปรก, กนกวรรณ ตาลดี, วชิระ ชุ่มมงคล, จักรสุมา พงศ์เศรษฐ์กุล และ ธีระพล เสนพันธุ์. (2565). อิทธิพลของการใช้กรดอินทรีย์ชนิดต่างๆ ต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์น้ำพริกหนุ่มชนิดปรับกรดบรรจุขวดปิดสนิท. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 27(2), 966-980.

4. รัชฎาภรณ์ ลิ้นฤาษี, วิจิตรา แดงปรก, กนกวรรณ ตาลดี, วชิระ ชุ่มมงคล, สุธาสินี ญาณภักดี, โชษณ ศรีเกตุ และ ธีระพล เสนพันธุ์. (2565). ผลของสารให้ความคงตัวชนิดต่างๆ ต่อการปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์น้ำพริกหนุ่มที่ผ่านการปรับกรดบรรจุขวดปิดสนิท. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 27(3), 2076-2088.

5. Tandee, K., Charuphakhaphon, K., Yodwong, A., Saetuang, Y., Jantong, S., Wetpasit, T., Kanittanon, I, & Mahatheeranont, S. (2019). Optimized fermentation of dried longan wine. In The 11th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB XI) (pp.808-811). Johor Bahru, Malaysia. 29 July – 2 August 2019.

6. Tandee, K., Kaewket, K., Sarbsiritrakul, A., Wunchana, J., & Rahong, N. (2019). Ultrasonic extraction of antioxidants from black soybean. In The 11th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB XI) (pp.812-816). Johor Bahru, Malaysia. 29 July – 2 August 2019.

7. Tandee, K., Nettiya, K., Duangchan, L., & Wunchana, J. (2020). Selection of starter culture for soybean tempeh production. In The 12th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB XII) (pp.143-148). Online: Silpakorn University, Nakhon Prathom, Thailand. 24 July 2020.

8. Nguyen, T.V.T., Unpaprom, Y., Tandee, K. Whangchai, K., & Ramaraj, R. (2020). Physical pretreatment and algal enzyme hydrolysis of dried low-grade and waste longan fruits to enhance its fermentable sugar production. Biomass Conversion and Biorefinery. doi: 10.1007/s13399-020-01176-0.

9. Tandee, K., Chaikantha, W., Khotbua, W., Rahong, N., & Wunchana, J. (2021). Ultrasonic extraction of Cape gooseberry for production of calcium alginate bead. In The 13th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB 2021) (pp.63-71). Online: Thailand. 18 September 2021.

10. Tandee, K., Kittiwachana, S., & Mahatheeranont, S. (2021). Antioxidant activities and volatile compounds in longan (Dimocarpus longan Lour.) wine produced by incorporating longan seeds. Food Chemistry, 348(6). doi: 10.1016/j.foodchem.2020.128921.

11. Tandee, K., Chuamuangphan, J., Pongpiyane, C., Rahong, N., & Wunchana, J. (2022). Malt beverage from glutinous rice cultivated in Northern Thailand. In The 14th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB XIV) (pp. 14-20). Pakse, Laos. 17-20 August 2022.

12. Mungmuang, N., Inpang, B., Senphan, T., & Tandee, K. (2022). Selection of commercial molds and yeasts for sato production. In The 24th Food Innovation Asia Conference 2022 (FIAC 2022) (pp. 331-338). Online: Thailand. 16-17 June 2022.

13. Tandee, K., Suwannakart, S., Wannathai, S., Ounya, S., Rahong, N., & Wunchana, J. (2023). Development of yogurt fortified with polysaccharide extract from longan pulp. Proceedings of the 1st International MJU-Phrae Conference (pp. 4-11). Maejo University Phrae Campus, Thailand. 21 July 2023.

14. Tandee, K., Sanginn, A., Thongsangiam, P., Rahong, N., & Wunchana, J. (2023). Quality of yogurt fortified with different polysaccharides. Proceedings of the 15th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB2023) (pp. 8-14). Luang Prabang, Laos. 9-10 August 2023.

4. นางสาวจิตราพร งามพีระพงศ์

อาจารย์

ปริญญาเอก : ปร.ด. โภชนศาสตร์

ปริญญาโท : วท.ม. อาหารและโภชนาการเพื่อการพัฒนา

ปริญญาตรี : วท.บ. เทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร

1) 10402220 โภชนศาสตร์และอาหารฟังก์ชั่น

2) 10402320 เคมีอาหาร

3) 10402321 การวิเคราะห์อาหาร

4) 10402490 สัมมนา

5) 10402496 โครงงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

6) 10400497 สหกิจศึกษา

ผลงานวิชาการ (อย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง)

1. จิตราพร งามพีระพงศ์. (2563). หน่วยที่ 13 โรคโภชนาการที่เกิดจากการได้รับพลังงานและสารอาหารที่ไม่สมดุล. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาสรีรวิทยาและชีวเคมีทางโภชนาการ หน่วยที่ 11-15 (พิมพ์ครั้งที่ 1, หน้า 13-1 – 13-63). นนทบุรี: สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช. 63 หน้า ISBN: 978-616-16-2283-1.

2. รัชฎาภรณ์ ลิ้นฤาษี, วิจิตรา แดงปรก, วิวัฒน์ หวังเจริญ, กนกวรรณ ตาลดี, จิตราพร งามพีระพงศ์, ศรัญญา สุวรรณอังกูร, วชิระ ชุ่มมงคล และ ธีระพล เสนพันธุ์. (2565). การปรับปรุงคุณภาพสีในผลิตภัณฑ์น้ำพริกหนุ่ม. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 27(2), 885-899.

3. Ngampeerapong, C., Wangcharoen, W., Daengprok, W., & Saengthong, W. (2020). Chemical characterization and pasting property of original and breeding rice. In The 12th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB XII) (pp.166-172). Online: Silpakorn University, Nakhon Prathom, Thailand. 24 July 2020.

4. Petchoo, J., Jittinandana, S., Tuntipopipat, S., Ngampeerapong, C., & Tangsuphoom, N. (2021). Effect of partial substitution of wheat flour with resistant starch on physicochemical, sensorial, and nutritional properties of breadsticks. International Journal of Food Science and Technology, 56, 1750-1758.

5. Ngampeerapong, C., Daengprok, W., Keokamnerd, T., Upara, U., & Phanchaisri, C. (2021). Effect of sweetener on physio-chemical properties of concentrated makiang juice. In The 13th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB 2021) (pp.29-35). Online: Thailand. 18 September 2021.

6. Ngampeerapong, C., Maneerat, N., Sitkongden, P., Saiyart, R., & Tangsuphoom, N. (2022). Formulation of reduced-sugar, fiber-enriched Thai traditional sweet egg yolk cake ‘Thong Ake’. Food and Applied Bioscience Journal, 10(1), 30-42.

7. Ngampeerapong, C., Chueamchaitrakun, S., Rahong, N., Wunchana, J., Pomsri, S., & Nitassanagul, S. (2022). Development of veggie and fruit softened texture pudding for Thai elderly. In The 14th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB XIV) (pp. 21-29). Pakse, Laos. 17-20 August 2022.

8. Ngampeerapong, C., Kabkhum, O., Tanalit, A., & Tangsuphoom, N. (2022). Development of branched-chain amino acid rich pudding for the elderly using silkworm pupae. In The 22nd IUNS-International Congress of Nutrition. Tokyo, Japan. 6-11 December 2022.

9. Julai, K., Sridonpai, P., Ngampeerapong, C., Tongdonpo, K., Suttisansanee, U., Kriengsinyos, W., On-Nom, N., & Tangsuphoom, N. (2023). Effects of Extraction and Evaporation Methods on Physico-Chemical, Functional, and Nutritional Properties of Syrups from Barhi Dates (Phoenix dactylifera L.). Foods12(6), 1268.

10. Ngampeerapong C*, Sumritsakun C, Chatvuttinun S, and Tangsuphoom N. Formulation of meal supplement for fat malabsorption problems patients using plant based protein instead of cow milk. In The 15th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB2023) (pp. 15-22). 9-10 August 2023, Luang Prabang, Lao P.D.R.

11. Ngampeerapong C*, Chueamchaitrakun S, Rahong N, Wanchana J, Pomsri S and Nitassanagul S. Texture modified fish balls for elderly with difficulty chewing and swallowing. The 3rd National and The 1st International MJU-Phrae Conference. Maejo University Phrae Campus, (pp. 12-22). 21 July 2023, Thailand.

5. นางสาวศรัญญา สุวรรณอังกูร

อาจารย์

ปริญญาเอก : ปร.ด. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

ปริญญาโท : วท.ม. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

ปริญญาตรี : วท.บ. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

1) 10402230 กฎหมายและข้อบังคับของอาหาร

2) 10402320 เคมีอาหาร

3) 10402321 การวิเคราะห์อาหาร

4) 10402442 การแปรรูปผักและผลไม้

5) 10402444 เทคโนโลยีขนมอบ

6) 10402446 เทคโนโลยีธัญชาติ

7) 10402490 สัมมนา

8) 10402496 โครงงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

9) 10400497 สหกิจศึกษา

ผลงานวิชาการ (อย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง)

1. รัชฎาภรณ์ ลิ้นฤาษี, วิจิตรา แดงปรก, วิวัฒน์ หวังเจริญ, กนกวรรณ ตาลดี, จิตราพร งามพีระพงศ์, ศรัญญา สุวรรณอังกูร, วชิระ ชุ่มมงคล และ ธีระพล เสนพันธุ์. (2565). การปรับปรุงคุณภาพสีในผลิตภัณฑ์น้ำพริกหนุ่ม. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 27(2), 885-899.

2. ศรัญญา สุวรรณอังกูร และ ขนิษฐา รุตรัตน มงคล. (2022). คุณสมบัติการต้านอนุมูลอิสระและชีวเคมีของโปรตีนไฮโดรไลเซท จากกากเมล็ดดาวอินคา. วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร, 39(2), 55-67.

3. Suwanangul, S., Aluko, R. E., Sangsawad, P., Kreungngernd, D., & Ruttarattanamongkol, K. (2022). Antioxidant and enzyme inhibitory properties of sacha inchi (Plukenetia volubilis) protein hydrolysate and its peptide fractions. Journal of Food Biochemistry, e14464.

4. Sangsawad, P., Katemala, S., Pao, D., Suwanangul, S., Jeencham, R., & Sutheerawattananonda, M. (2022). Integrated evaluation of dual-functional DPP-IV and ACE inhibitory effects of peptides derived from sericin hydrolysis and their stabilities during in vitro-simulated gastrointestinal and plasmin digestions. Foods, 11(23), 3931.

5. Sangsawad, P., Katemala, S., Pao, D., Suwanangul, S., Jeencham, R., & Sutheerawattananonda, M. (2022). Integrated evaluation of dual-functional DPP-IV and ACE inhibitory effects of peptides derived from sericin hydrolysis and their stabilities during in vitro-simulated gastrointestinal and plasmin digestions.  Foods, 11(23), 1-13.

6. Suwanangul, S., Jaichakan, P., Narkprasom, N., Kraithong, S., Narkprasom, K., & Sangsawad, P. (2023). Innovative Insights for Establishing a Synbiotic Relationship with Bacillus coagulans: Viability, Bioactivity, and In Vitro-Simulated Gastrointestinal Digestion. Foods, 12(19), 3692.

 

6. นางวิจิตรา แดงปรก

รองศาสตราจารย์

ปริญญาเอก : ปร.ด. วิทยาศาสตร์การอาหาร

ปริญญาโท : วท.ม. วิทยาศาสตร์การอาหาร

ปริญญาตรี : วท.บ. อุตสาหกรรมเกษตร

1) 10402220 โภชนศาสตร์และอาหารฟังก์ชั่น

2) 10402320 เคมีอาหาร

3) 10402444 เทคโนโลยีขนมอบ

4) 10402445 การแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์และประมง

5) 10402496 โครงงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

6) 10400497 สหกิจศึกษา

ผลงานวิชาการ (อย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง)

1. ธัญญาลักษณ์ มาลา, จงกล พรมยะ, ดวงพร อมรเลิศพิศาล และ วิจิตรา แดงปรก. (2561). การเปรียบเทียบมวลชีวภาพและคุณค่าทางโภชนาการของสาหร่ายไกในการเพาะเลี้ยงระบบปิดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม. วารสารวิจัยเทคโนโลยีการประมง, JFTR60-08-01, 1-10.

2. กชพร พรมมารัตน์, จุฑามาศ กัดผุ, ธเนศ แก้วกำเนิด, ชนันท์ภัสร์ ราษฎร์นิยม และ วิจิตรา แดงปรก. (2562). คุณภาพทางกายภาพและทางประสาทสัมผัสของคุกกี้ปราศจากกลูเตนจากแป้งข้าวอินทรีย์ผสมและกากมะพร้าว. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ พะเยาวิจัย ครั้งที่ 8 (หน้า 1316-1322). มหาวิทยาลัยพะเยา จ.พะเยา. 24-25 มกราคม 2562.

3. จุฑามาศ วงศ์จักร, วิจิตรา แดงปรก, ชลินดา อริยเดช และ มงคล ถิรบุญยานนท์. (2563). ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระและความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งลำไส้ของสารสกัดหยาบจากเอื้องช้างน้าว. ใน การการประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 12 (หน้า 707-714). มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จ.อุบลราชธานี. 28 มีนาคม 2563.

4. รณชัย จันทร์ตน, ศรัณย์ สิทธิชัย และ วิจิตรา แดงปรก. (2563). การพัฒนาผลิตภัณฑ์คุกกี้เสริมเพคตินสกัดจากเปลือกส้มโอ. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด, 1(2), 27-35.

5. ชนันท์ภัสร์ ราษฎร์นิยม, จารุมาตย์ ห้วยไชย, เจนจิรา สายจีน และ วิจิตรา แดงปรก. (2564). ฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์แอลฟาอะมัยเลสและฤทธิ์ต้านออกซิเดชันของบะหมี่ข้าวกล้องเสริมเห็ดหอม. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 6 ด้านสารสนเทศ การเกษตร การจัดการ บริหารธุรกิจ วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี: IAMBEST 2021 (หน้า 555-562). ออนไลน์: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ จ.ชุมพร. 27-28 พฤษภาคม 2564.

6. เจนจิรา นิเวศน์, เกรียงศักดิ์ เม่งอำพัน, วิจิตรา แดงปรก, กิตติมา ลีละพงศ์วัฒนา, สุธาสินี ญาณภักดี และ ธีระพล เสนพันธุ์. (2564). การพัฒนากระบวนการผลิตไบโอแคลเซียมจากกระดูกปลาลูกผสมบึกสยาม. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 26(3), 1532-1544.

7. รัชฎาภรณ์ ลิ้นฤาษี, วิจิตรา แดงปรก, วิวัฒน์ หวังเจริญ, กนกวรรณ ตาลดี, จิตราพร งามพีระพงศ์, ศรัญญา สุวรรณอังกูร, วชิระ ชุ่มมงคล และ ธีระพล เสนพันธุ์. (2565). การปรับปรุงคุณภาพสีในผลิตภัณฑ์น้ำพริกหนุ่ม. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 27(2), 885-899.

8. รัชฎาภรณ์ ลิ้นฤาษี, วิจิตรา แดงปรก, กนกวรรณ ตาลดี, วชิระ ชุ่มมงคล, จักรสุมา พงศ์เศรษฐ์กุล และ ธีระพล เสนพันธุ์. (2565). อิทธิพลของการใช้กรดอินทรีย์ชนิดต่างๆ ต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์น้ำพริกหนุ่มชนิดปรับกรดบรรจุขวดปิดสนิท. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 27(2), 966-980.

9. รัชฎาภรณ์ ลิ้นฤาษี, วิจิตรา แดงปรก, กนกวรรณ ตาลดี, วชิระ ชุ่มมงคล, สุธาสินี ญาณภักดี, โชษณ ศรีเกตุ และ ธีระพล เสนพันธุ์. (2565). ผลของสารให้ความคงตัวชนิดต่างๆ ต่อการปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์น้ำพริกหนุ่มที่ผ่านการปรับกรดบรรจุขวดปิดสนิท. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 27(3), 2076-2088.

10. ณัฐพงษ์ มุงเมือง ธีระพล เสนพันธุ์และวิจิตรา แดงปรก. 2566. การใช้สารเคลือบผิวชนิดบริโภคได้กับสับปะรดตัดแต่งพร้อมบริโภค. วารสารวิทยาศาสตร์

             บูรพา. 28 (1) มกราคม-เมษายน. 384-402.

11. Kaewmaneesuk, J., Ariyadet, C., Thirabunyanon, M., Jaturonglumlert, S., & Daengprok, W. (2018). Influence of LED red-light intensity on phycocyanin accumulation in the cyanobacterium Nostoc commune Vaucher. Journal of Fundamental and Applied Sciences, 10(3S), 457-467.

12. Ratanamanee, T., Ariyadet, C., Sakhonwawee, S., & Daengprok, W. (2018). Influence of LED quality to rice seedlings green tea grown in a semi-closed system. Journal of Fundamental and Applied Sciences, 10(3S), 468-481.

13. Niwet, J., Mangumphan, K., Thammakan, K., Daengprok, W., Sriket, C., & Senphan, T. (2020). Production and characterization of bio-calcium from hybrid catfish (Pangasianodon gigas X Pangasianodon hypophthalmus) bone. In The 12th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB XII) (pp.173-180). Online: Silpakorn University, Nakhon Prathom, Thailand. 24 July 2020.

14. Rardniyom, C., Keokamnerd, T., Phanchaisri, C., Inthrarapongnuwat, W., & Daengprok, W. (2020). Quality changes of fish fingers from African catfish (Clarias gariepinus) during frozen storage (-20°C). In The 12th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB XII) (pp.154-160). Online: Silpakorn University, Nakhon Prathom, Thailand. 24 July 2020.

15. Ngampeerapong, C., Wangcharoen, W., Daengprok, W., & Saengthong, W. (2020). Chemical characterization and pasting property of original and breeding rice. In The 12th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB XII) (pp.166-172). Online: Silpakorn University, Nakhon Prathom, Thailand. 24 July 2020.

16. Rardniyom, C., Meta-anankul, N., Keokamnerd, T., & Daengprok, W. (2021). Alpha-amylase inhibition and antioxidant activity of Shiitake (Lentinus edodes) mushroom. In The 13th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB 2021) (pp.15-22). Online: Thailand. 18 September 2021.

17. Srikham, K., Daengprok, W., Niamsup, P., & Thirabunyanon, M. (2021). Characterization of Streptococcus salivarius as new probiotics derived from human breast milk and their potential on proliferative inhibition of liver and breast cancer cells and antioxidant activity. Frontiers in Microbiology, 12, 797445.

18. Daengprok, W., Rardniyom, C., Keokamnerd, T., & Intharapongnuwat, W. (2021). Effects of mince washing and packaging on physicochemical quality changes of fish burger made from African catfish (Clarias gariepinus) during frozen storage. Food and Applied Bioscience Journal, 9(3), 27-43.

19. Wasunan, P., Maneewong, C., Daengprok, W., & Thirabunyanon, M. (2022). Bioactive earthworm peptides produced by novel protease-producing Bacillus velezensis PM 35 and its bioactivities on liver cancer cell death via apoptosis, antioxidant activity, protection against oxidative stress, and immune cell activation. Frontiers in Microbiology, 13, 892945.

20. Wasunan, P., Maneewong, C., Daengprok, W. and Thirabunyanon, M. (2023). Biotechnology approach of various biorefnery substrates for Thai native earthworm cultivation. Biomass Conversion and Biorefinery. https://doi.org/10.1007/S13399-023-04314-6.

 

7. นายวิวัฒน์ หวังเจริญ

รองศาสตราจารย์

ปริญญาเอก : ปร.ด. เทคโนโลยีอาหาร

ปริญญาโท : วท.ม. เทคโนโลยีการอาหาร

ปริญญาตรี : วท.บ. อุตสาหกรรมเกษตร

1) 10402200 การแปรรูปอาหาร 1

2) 10402330 การควบคุมคุณภาพอาหาร

3) 10402370 สถิติและคอมพิวเตอร์สำหรับงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

4) 10402460 การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร

5) 10402461 การประเมินคุณภาพอาหารโดยประสาทสัมผัส

6) 10402496 โครงงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

7) 10400497 สหกิจศึกษา

ผลงานวิชาการ (อย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง)

1. รัตนาภรณ์ จันทร์ทิพย์, นริศรา ไล้เลิศ, เกรียงศักดิ์ เม่งอาพัน, วิวัฒน์ หวังเจริญ และ ดวงพร อมรเลิศพิศาล. (2563). ผลของสารผสมจากสารสกัดสาหร่ายน้ำจืด Rhizoclonium hieroglyphicum และ Spirogyra neglecta ต่อการลดระดับน้าตาลและไขมันในเลือดหนูเบาหวาน. วารสารวิจัยเทคโนโลยีการประมง, 14(2), 97-108.

2. วิจิตรา แดงปรก, วิวัฒน์ หวังเจริญ, ธีระพล เสนพันธุ์, มงคล ถิรบุญยานนท์ และสุทธิดา สุทธิเลิศ. (2564). การเตรียมสารประกอบฟีนอลิกและฤทธิ์การต้านออกซิเดชันของสารสกัดพอลิแซคคาไรด์จากเห็ดถั่งเช่าสีทอง. ใน การประชุมวิชาการวิจัยและนวัตกรรมสร้างสรรค์ ครั้งที่ 7 (CRCI 2021) (หน้า 452-267). ออนไลน์: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จ.เชียงใหม่. 12-14 พฤษภาคม 2564.

3. รัชฎาภรณ์ ลิ้นฤาษี, วิจิตรา แดงปรก, วิวัฒน์ หวังเจริญ, กนกวรรณ ตาลดี, จิตราพร งามพีระพงศ์, ศรัญญา สุวรรณอังกูร, วชิระ ชุ่มมงคล และ ธีระพล เสนพันธุ์. (2565). การปรับปรุงคุณภาพสีในผลิตภัณฑ์น้ำพริกหนุ่ม. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 27(2), 885-899.

4. Janthip, R., Lailerd, N., Wangchareon, W., Mangumphan, K., & Amornlerdpison, D. (2018). Chemical compound and biological properties of freshwater macroalgae extracts from Spirogyra neglecta and Rhizoclonium hieroglyphicum. In The 2nd National Graduate Research Conference and Creative Innovation Competition (pp.189-195). Chiang Mai, Thailand. 17-18 May 2018.

5. Sathonghon, K., Poonoppakhun, K., & Wangchareon, W. (2018). Development of local Thai traditional cough drop. In The 10th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB 2018) (pp.496-499). Vientiane, Lao PDR. 9-11 May 2018.

6. Thongchun, W., Kuntajai, S., Maikaewsuk, D., Klipo, T., & Wangcharoen, W. (2019). Pumpkin flavoured chewy candy. In the 11th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB XI) (pp.803-807). Johor Bahru, Malaysia. 29 July – 2 August 2019.

7. Wangmooklang, C., Inmano, N., & Wangcharoen, W. (2020). Purple sweet potato flavoured chewy candy. In The 12th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB XII) (pp.130-134). Online: Silpakorn University, Nakhon Prathom, Thailand. 24 July 2020.

8. Ngampeerapong, C., Wangcharoen, W., Daengprok, W., & Saengthong, W. (2020). Chemical characterization and pasting property of original and breeding rice. In The 12th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB XII) (pp.166-172). Online: Silpakorn University, Nakhon Prathom, Thailand. 24 July 2020.

9. Janthip, R., Lailerd, N., Wangchareon, W., Mengumphan, K., & Amornlerdpison, D. (2020). Effects of Rhizoclonium hieroglyphicum and Spirogyra neglecta combined freshwater algal extract on blood glucose, lipids and oxidative markers in diabetic rats. Maejo International Journal of Science and Technology, 14(2), 184-194.

10. Makhamrueang, N., Sirilun, S., Sirithunyalug, J., Chaiyana, W., Wangcharoen, W., Peerajan, S., & Chaiyasut, C. (2021). Effect of pretreatment processes on biogenic amines content and some bioactive compounds in Hericium erinaceus extract. Foods, 10, 996.

11. Makhamrueang, N., Sirilun, S., Sirithunyalug, J., Chaiyana, W., Wangcharoen, W., Peerajan, S., & Chaiyasut, C. (2021). Lactobacillus plantarum SK15 as a starter culture for prevention of biogenic amine accumulation in fermented beverage containing Hericium erinaceus mushroom. Applied Science, 11, 6680.

12. Boonjunta, P., Inthima, A., Senphan, T., Buttaraj, K., & Wangcharoen, W. (2022). Low carb avocado ice cream. In The 14th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB XIV) (pp. 9-13). Pakse, Laos. 17-20 August 2022.

13. Rukmaeing, N., Somrit, N., Buttaraj, K. and Wangcharoen, W. (2023). Sensory and chemical analysis of reduced fat and low carb avocado ice cream. In The 15th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB XV) (pp. 2-7). Luang Prabang, PLaos. 8-10 August 2023.

14. Cheenacharoen, S., Suwarat, S., Saengtong, V., Lanumteang, K., Wangcharoen, W., Chainurak, K., Prachakbunchetsad, V., Arthan, T. and Kophimai, Y. (2023). Molecular markers for resistant starch content in Thai rice.  Asia-Pacific Journal of Science and Technology, 28 (6), APST-28-06-15.

8. นายธีระพล เสนพันธุ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ปริญญาเอก : ปร.ด. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร

ปริญญาโท : -

ปริญญาตรี : วท.บ. อุตสาหกรรมเกษตร

1) 10402200 การแปรรูปอาหาร 1

2) 10402250 วิศวกรรมอาหาร 1

3) 10402330 การควบคุมคุณภาพอาหาร

4) 10402350 วิศวกรรมอาหาร 2

5) 10402361 การออกแบบและการจัดการโรงงานอาหาร

6) 10402442 การแปรรูปผักและผลไม้

7) 10402444 เทคโนโลยีขนมอบ

8) 10402445 การแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์และประมง

9) 10402447 การสร้างคุณค่าวัสดุเศษเหลือจากอุตสาหกรรมเกษตร

10) 10402490 สัมมนา

11) 10402496 โครงงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

12) 10400497 สหกิจศึกษา

ผลงานวิชาการ (อย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง)

1. Sriket, C., Niwet, J., Kuimalee, S., Benjakul, S., Yarnpakdee, S., Karnjanapratum, S., & Senphan, T. (2023). A comprehensive study of diverse techniques for enhanced physicochemical and structural properties of bio-calcium from hybrid catfish bone. Food Bioscience, 56, 103398.

2. Maser, W. H., Maiyah, N., Nagarajan, M., Kingwascharapong, P., Senphan, T., Ali, A. M. M., & Bavisetty, S. C. B. (2023). Effect of different extraction solvents on the yield and enzyme inhibition (a-amylase, a-glucosidase, and lipase) activity of some vegetables. Biodiversitas Journal of Biological Diversity, 24(6). 3320-3331.

3. Bavisetty, S.C.B., Maiyah, N., Ab Karim, S., Pinakin, D.J., Maser, W.H., Petsong, K., Senphan, T. and Ali, A.M.M (2023). Microbial Enzymes for the Recovery of Nutraceuticals from Agri-Food Waste. In Microbial Enzymes in Production of Functional Foods and Nutraceuticals (pp. 219-247). CRC Press.

4. Sriket, C., Kittiphattanabawon, P., Patil, U., Benjakul, S., Senphan, T., & Nalinanon, S. (2023). Development of Yellow Discoloration in Sawai (Pangasianodon hypophthalmus) Muscle due to Lipid Oxidation. Preventive Nutrition and Food Science, 28(4), 483.

5. Sai-Ut, S., Senphan, T., Pongsetkul, J., Kaewthong, P., Tuntivisoottikul, K., Sinthusamran, S., & Nalinanona, S. Oxidative stability of Iresine herbstii extract-containing coconut oil during storage. 19(1), 229-242.

6. Sriket, C., Niwet, J., Pui, L. P., Yarnpakdee, S., & Senphan, T. (2023). Effects of different processes on characteristics and properties of bio?calcium from hybrid catfish (Pangasianodon gigas x Pangasianodon hypophthalmus). International Journal of Food Science & Technology. Doi.org/10.1111/ ijfs.16252.

7. Yarnpakdee, S., Kaewprachu, P., Jaisan, C., Senphan, T., Nagarajan, M., & Wangtueai, S. (2022). Extraction and physico–chemical characterization of chitosan from mantis shrimp (Oratosquilla nepa) shell and the development of bio-composite film with agarose. Polymers, 14(19), 3983.

8. Pongsetkul, J., Kingwascharapong, P., & Senphan, T. (2022). Biochemical changes of nile Tilapia (Oreochromis niloticus) meat during ice storage: A comparison between slurry ice vs flake ice. Journal of Aquatic Food Product Technology, 31(8), 814-827.

9. Yarnpakdee, S., Senphan, T., Wangtueai, S., Jaisan, C., & Nalinanon, S. (2021). Characteristic and antioxidant activity of Cladophora glomerata ethanolic extract as affected by prior chlorophyll removal and drying methods. Journal of Food Processing and Preservation, https://doi.org/10.1111/jfpp.15534

10. Senphan, T., Takeungwongtrakul, S., & Kaewthong, P. (2021). Extraction and antioxidant activities of broken Ganoderma lucidum spore. International Journal of Agricultural Technology, 17(6), 2303-2316.

11. Sriket, C., Benjakul, S., & Senphan, T. (2019). Effect of iron on physicochemical changes of sawai (Pangasianodon hypophthalmus) pastes during multiple freeze-thaw cycles. Turkish Journal of Fisheries and Aquatic Sciences, 19(11), 947-956.

12. Kuan, Y. L., Sivanasvaran, S. N., Pui, L. P., Yusof, Y. A., & Senphan, T. (2020). Physicochemical properties of sodium alginate edible film incorporated with mulberry (Morus australis) leaf extract. Pertanika Journal of Tropical Agricultural Science, 43(3), 359 376.

13. Senphan, T., Yakong, N., Aurtae, K., Songchanthuek, S., Choommongkol, V., Fuangpaiboon, N., Phing, P. L., & Yarnpakdee, S. (2019). Comparative studies on chemical composition and antioxidant activity of corn silk from two varieties of sweet corn and purple waxy corn as influenced by drying methods. Food and Applied Bioscience Journal, 7(3), 64-80.

14. กนกวรรณ วงศ์ท่าเรือ, ชุติมา รองราช, ธีระพล เสนพันธุ์, สรญา เขียวนาวาวงศ์ษา และ สุธาสินี ญาณภักดี (2563) แคลเซียมจากผงเปลือกหอยมุก (Pinctada maxima) ที่เป็นผลจากกระบวนการทางความร้อน : การจำแนกลักษณะและการประยุกต์ใช้ในเจลซูริมิ, วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 25(3), 1262-1277.

15. เจนจิรา นิเวศน์, เกรียงศกัดิ์ เม่งอำพัน, วิจิตรา แดงปรก, กิตติมา ลีละพงศ์วัฒนา, สุธาสินีญาณภักดี และ ธีระพล เสนพันธุ์ (2564). การพัฒนากระบวนการผลิตไบโอแคลเซียมจากกระดูกปลาลูกผสมบึกสยาม. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 26(3), 1532-1544.

16. รัชฎาภรณ์ ลิ้น?ษี, วิจิตรา แดงปรก, วิวัฒน์ หวังเจริญ, กนกวรรณ ตาลดี, จิตราพร งามพีระพงศ์, ศรัญญา สุวรรณอังกูร, วชิระ ชุ่มมงคล และ ธีระพล เสนพันธุ์. (2565). การปรับปรุงคุณภาพสีในผลิตภัณฑ์น้ำพริกหนุ่ม. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 27(2), 885-899.

17. รัชฎาภรณ์ ลิ้นฤษี, วิจิตรา แดงปรก, กนกวรรณ ตาลดี, วชิระ ชุ่มมงคล, ดลลิตา โชติพฤฒิพงศ์, จักรสุมา พงศ์เศรษฐ์กุล และ ธีระพล เสนพันธุ์. (2565). อิทธิพลของการใช้กรดอินทรีย์ชนิดต่างๆ ต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์น้ำพริกหนุ่มชนิดปรับกรดบรรจุขวดปิดสนิท. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 27(2), 966-980.

 

 

10. สถานที่จัดการเรียนการสอน

10.1 อาคารเรียนรวมต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่

10.2 คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่     

คุณสมบัติของผู้สมัคร

 สนใจสมัคร http://www.admissions.mju.ac.th/


  Facebook


ปรับปรุงข้อมูล 31/5/2567 14:38:17
, จำนวนการเข้าดู 11218